วารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์ (Jan 2024)

The Study Results of Perception and Satisfaction of Elementary School Students with 2D Animation Cartoon: Primal Hunter

  • Chalantorn Thaluang,
  • Punyarat Rungsoongnern

DOI
https://doi.org/10.14456/jait.2024.14
Journal volume & issue
Vol. 6, no. 2
pp. 242 – 261

Abstract

Read online

The purposes of this research were to 1) develop the 2D animation cartoon: Primal Hunter, 2) study the perception of the sample group after watching the 2D animation cartoon: Primal Hunter, and 3) study the satisfaction of the sample group after watching 2D animation cartoon: Primal Hunter. The sample group consisted of 56 elementary school students from Ban Nong Buakham School, Nakhon Ratchasima province, selected using a group sampling method. The tools used to collect data were 1) 2D animation cartoon: Primal Hunter, 2) Quality assessment questionnaire for 2D animation cartoon: Primal Hunter, 3) Perception assessment questionnaire for the sample group after watching 2D animation cartoon: Primal Hunter, and 4) Satisfaction measurement questionnaire for the sample group after watching the 2D animation cartoon: Primal Hunter. The statistics used in the data analysis were: percentages, mean, and standard deviations. The study's findings revealed that 1) 2D animation cartoon: Primal Hunter had a very good overall quality, with an average rating of 4.69. 2) The perception level of the sample group after watching the 2D animation cartoon: Pyramol Hunter was found to be 85.36%, indicating a very high level of perception. 3) The satisfaction survey results of the sample group after watching the 2D animation cartoon: Pyramol Hunter showed that the sample group had the highest level of satisfaction, with an average rating of 4.68. บทคัดย่อ: การวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ เรื่อง ไพรมอล ฮันเตอร์ 2) ศึกษาระดับการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างหลังชมการ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ เรื่อง ไพรมอล ฮันเตอร์ 3) ศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างหลังชมการ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ เรื่อง ไพรมอล ฮันเตอร์ โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนบ้านหนองบัวคำ จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 56 คน โดยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล คือ 1) การ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ เรื่อง ไพรมอล ฮันเตอร์ 2) แบบประเมินคุณภาพการ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ เรื่อง ไพรมอล ฮันเตอร์ 3) แบบประเมินการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างหลังชมการ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ เรื่อง ไพรมอล ฮันเตอร์ 4) แบบวัดความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างหลังชมการ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ เรื่อง ไพรมอล ฮันเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) การ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ เรื่อง ไพรมอล ฮันเตอร์ มีคุณภาพโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.69 2) ผลการวัดระดับการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างหลังชมการ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ เรื่อง ไพรมอล ฮันเตอร์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้อยู่ที่ร้อยละ 85.36 มีการรับรู้อยู่ในระดับมากที่สุด 3) ผลการสำรวจความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างหลังชมการ์ตูนแอนิเมชันสองมิติ เรื่อง ไพรมอล ฮันเตอร์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจอยู่ระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยที่ 4.68

Keywords