วารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์ (Apr 2024)

The Development of Computer Inventory Management System for Faculty of Science and Technology Nakhon Ratchasima Rajabhat University

  • Thamonwannapohn KhaKhum

Journal volume & issue
Vol. 6, no. 2
pp. 280 – 301

Abstract

Read online

The objectives of this study were to: 1) develop a computer inventory management system for the Faculty of Science and Technology 2) to study the evaluation of the system efficiency from 3 experts 3) to study the evaluation of user satisfaction with the use of the sample group. The selection of the sample group is based on the purposive sampling technique. By selecting from the support personnels who are involved in managing the curriculum equipment under the Faculty of Science and Technology, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, a total of 30 people were selected. The preliminary test results show that the system is practical and can be beneficially utilized. The evaluation of the system's performance by experts yielded an average rating at a high level, with a mean score of 4.35 and a standard deviation of 0.55. The average results classified by aspect found that the ease of use aspect is at the highest level. The performance aspect meets the requirement aspect and Information security aspect are at a high level of satisfaction. The satisfaction evaluation from the sample group regarding system usage also scored high, with an average of 4.31 and a standard deviation of 0.58. The average results classified by aspect found that satisfaction with the system Service aspect of officials is at a high level. บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบบริหารจัดการครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์สำหรับ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2) ศึกษาการประเมินประสิทธิภาพของระบบของผู้เชี่ยวชาญ 3) ศึกษาการประเมินความพึงพอใจการต่อการใช้งานของกลุ่มตัวอย่าง วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยทำการคัดเลือกจากบุคลากรสายสนับสนุนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลครุภัณฑ์ของหลักสูตรที่สังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จำนวน 30 คน ผลการทดลองเบื้องต้นแสดงให้เห็นว่า ระบบสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง และพบว่าผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ ผลเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.35 และค่า S.D. อยู่ที่ 0.55 โดยผลเฉลี่ยจำแนกรายด้าน พบว่า ด้านความง่ายต่อการใช้งาน อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านประสิทธิภาพ ด้านความง่ายต่อการใช้งาน ด้านตรงตามความต้องการ ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล อยู่ในระดับมาก และผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบของกลุ่มตัวอย่าง ผลเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.31 และค่า S.D. อยู่ที่ 0.58 โดยผลเฉลี่ยจำแนกรายด้าน พบว่า ด้านความพึงพอใจที่มีต่อระบบ ด้านการบริการของเจ้าหน้าที่ อยู่ในระดับมาก

Keywords